ใบงาน บทที่ 4

บทที่ 4
เรื่อง  “การสื่อสารข้อมูลบนระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์”

















1.สื่อกลางประเภทมีสายแต่ละประเภท มีข้อดีและข้อเสียอย่างไรบ้าง จงเปรียบเทียบ

สื่อกลางประเภทมีสาย (Wired Media)
สื่อกลางประเภทมีสาย (Wired Media)    สื่อกลางประเภทมีสาย หมายถึง สื่อกลางที่เป็นสายซึ่งใช้ในการเชื่อมโยงโดยอุปกรณ์ต่าง ๆ เพื่อใช้ในการส่งผ่านข้อมูลระหว่างอุปกรณ์ และอุปกรณ์ในระยะทางที่ห่างกันไม่มากนัก
ได้แก่    
<!--[if !supportLists]-->8 <!--[endif]-->สายทองแดงแบบไม่หุ้มฉนวน (Unshield Twisted Pair)
<!--[if !supportLists]-->8 <!--[endif]-->สายทองแดงแบบหุ้มฉนวน (Shield Twisted Pair)
<!--[if !supportLists]-->8 <!--[endif]-->สายโคแอคเชียล (Coaxial)
<!--[if !supportLists]-->8 <!--[endif]-->ใยแก้วนำแสง (Optic Fiber)

สื่อกลางประเภทมีสาย
ข้อดี
ข้อเสีย
     1.ป้องกันสัญญาณรบกวน
     1.ไม่สามารถใช้รับ-ส่งสัญญาณได้เกิน 185 เมตร
     2.มีความเร็วในการรับ-ส่งข้อมูล 10/100 Mbps 
     2.มีความเร็วในการส่งข้อมูลต่ำ
      3.มีฉนวนด้านนอกหนา
     3.อัตราเร็วในการส่งข้อมูลจะน้อยกว่าสายสัญญาณแบบอื่น
     4.ใช้งานในการเชื่อมต่อระยะทางใกล้ๆ
     4.มีข้อจำกัดเรื่องความยาวของสายสัญญาณ
     5.เสียค่าใช้จ่ายในการติดตั้งน้อย

     6.ใช้อย่างกว้างขวางในระบบโทรศัพท์



สื่อกลางประเภทมีสายมีข้อดีข้อเสีย สามารถแยกแต่ละประเภทได้ ดังนี้

ชนิดสาย
ประเภทสาย
ข้อดี
ข้อเสีย
<!--[if !vml]-->
<!--[endif]-->
 
สายคู่บิดเกลียว
แบบไม่หุ้มฉนวน
( Unshielded Twisted Pair : UTP)
<!--[if !supportLineBreakNewLine]-->
<!--[endif]-->
<!--[if !supportLists]-->8 <!--[endif]-->ราคาถูก
<!--[if !supportLists]-->8 <!--[endif]-->หาซื้อง่าย
<!--[if !supportLists]-->8<!--[endif]-->การติดตั้งง่าย
<!--[if !supportLists]-->8<!--[endif]-->น้ำหนักเบา
<!--[if !supportLists]-->8 <!--[endif]-->มีสัญญาณรบกวนมาก
<!--[if !supportLists]-->8 <!--[endif]-->ข้อจำกัดของระยะทาง
<!--[if !vml]--><!--[endif]-->
สายคู่บิดเกลียว
แบบหุ้มฉนวน
    (Shielded Twisted Pair : STP)

<!--[if !supportLists]-->8<!--[endif]-->ราคาถูก
<!--[if !supportLists]-->8 <!--[endif]-->หาซื้อง่าย
<!--[if !supportLists]-->8 <!--[endif]-->การติดตั้งง่าย
<!--[if !supportLists]-->8 <!--[endif]-->น้ำหนักเบา
<!--[if !supportLists]-->8 <!--[endif]-->มีสัญญาณรบกวน
<!--[if !supportLists]-->8<!--[endif]--> ข้อจำกัดของ ระยะทาง

<!--[if !vml]-->
<!--[endif]-->

สายโคแอกเชียล (Coaxial)

<!--[if !supportLists]-->8<!--[endif]-->ราคาถูก
<!--[if !supportLists]-->8 <!--[endif]-->การติดตั้งง่าย
<!--[if !supportLists]-->8 <!--[endif]--> น้ำหนักเบา

<!--[if !supportLists]-->8 <!--[endif]-->มีสัญญาณรบกวน
<!--[if !supportLists]-->8 <!--[endif]-->ข้อจำกัดของ ระยะทาง
<!--[if !vml]-->
<!--[endif]-->

ใยแก้วนำแสง
(Optic Fiber)
<!--[if !supportLists]-->8 <!--[endif]-->ป้องกันการรบกวนจากสัญญาณไฟฟ้าได้มากหาซื้อง่าย
<!--[if !supportLists]-->8 <!--[endif]-->ส่งข้อมูลได้ระยะไกลโดยไม่ต้องมีตัวขยายสัญญาณ
<!--[if !supportLists]-->8 <!--[endif]-->การดักสัญญาณทำได้ยาก ข้อมูลจึงมีความปลอดภัย
<!--[if !supportLists]-->8 <!--[endif]-->มากกว่าสายส่งแบบอื่น
8ส่งข้อมูลได้ด้วยความเร็วสูง และ สามารถส่งได้มากขนาดของสายเล็กและน้ำหนักเบา

<!--[if !supportLists]-->8 <!--[endif]-->มีสัญญาณรบกวน
<!--[if !supportLists]-->8 <!--[endif]-->ข้อจำกัดของ ระยะทาง


























































การนำระบบเครือข่ายมาใช้ในองค์กร มีประโยชน์อย่างไร 

ประโยชน์ของระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 
          ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์หนึ่งเครือข่ายจะมีการทำงานรวมกันเป็นกลุ่ม ที่เรียกว่า กลุ่มงาน (Work group)  แต่เมื่อเชื่อมโยงหลายๆ กลุ่มงานเข้าด้วยกัน   ก็จะเป็นเครือข่ายขององค์กร และถ้าเชื่อมโยงระหว่างองค์กรผ่านเครือข่ายแวน ก็จะได้เครือข่ายขนาดใหญ่ขึ้น 
          การประยุกต์ใช้งานเครือข่ายคอมพิวเตอร์เป็นไปอย่างกว้างขวางและสามารถใช้ประโยชน์ได้มากมาย ทั้งนี้เพราะระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ทำให้เกิดการเชื่อมโยงอุปกรณ์ต่างๆ เข้าด้วยกัน และสื่อสารข้อมูลระหว่างกันได้ 
ประโยชน์ของระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ มีดังนี้
 การใช้อุปกรณ์ร่วมกัน (Sharing of peripheral devices)
ครือข่ายคอมพิวเตอร์ทำให้ผู้ใช้ สามารถใช้อุปกรณ์ รอบข้างที่ต่อพ่วงกับระบบคอมพิวเตอร์ ร่วมกันได้อย่างมีประสิทธิภาพ เช่นเครื่องพิมพ์ ดิสก์ไดร์ฟ ซีดีรอม สแกนเนอร์ โมเด็ม เป็นต้น ทำให้ประหยัดค่าใช้จ่าย ไม่ต้องซื้ออุปกรณ์ที่มีราคาแพง เชื่อมต่อพ่วงให้กับคอมพิวเตอร์ทุกเครื่อง   
การใช้โปรแกรมและข้อมูลร่วมกัน (Sharing of program and data)
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ ทำให้ผู้ใช้สามารถใช้โปรแกรม และข้อมูลร่วมกันได้ โดยจัดเก็บโปรแกรมไว้แหล่งเก็บข้อมูล ที่เป็นศูนย์กลาง เช่น ที่ฮาร์ดดิสก์ของเครื่อง File Server ผู้ใช้สามารถใช้โปรแกรมร่วมกัน ได้จากแหล่งเดียวกัน ไม่ต้องเก็บโปรแกรมไว้ในแต่ละเครื่อง ให้ซ้ำซ้อนกัน นอกจากนั้นยังสามารถรวบรวม ข้อมูลต่าง ๆ จัดเก็บเป็นฐานข้อมูล ผู้ใช้สามารถใช้สารสนเทศ จากฐานข้อมูลกลาง ผ่านระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร ์ที่ใช้งานได้อย่างสะดวกสบาย โดยไม่ต้องเดินทางไปสำเนาข้อมูลด้วยตนเอง เพราะใช้การเรียกใช้ข้อมูล ผ่านระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์นั่นเอง เครื่องลูก (Client) สามารถเข้ามาใช้ โปรแกรม ข้อมูล ร่วมกันได้จากเครื่องแม่ (Server) หรือระหว่างเครื่องลูกกับเครื่องลูกก็ได้ เป็นการประหยัดเนื้อที่ในการจัดเก็บโปรแกรม ไม่จำเป็นว่าทุกเครื่องต้องมีโปรแกรมเดียวกันนี้ในเครื่องของตนเอง 
สามารถติดต่อสื่อสารระยะไกลได้ (Telecommunication)
การเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ เป็นเครือข่าย ทั้งประเภทเครือข่าย LAN , MAN และ WAN ทำให้คอมพิวเตอร์ สามารถสื่อสารแลกเปลี่ยนข้อมูล ระยะไกลได ้โดยใช้ซอฟต์แวร์ประยุกต์ ทางด้านการติดต่อสื่อสาร โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ในระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต มีการให้บริการต่าง ๆ มากมาย เช่น การโอนย้ายไฟล์ข้อมูล การใช้จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Mail) การสืบค้นข้อมูล (Search Engine) เป็นต้น  
สามารถประยุกต์ใช้ในงานด้านธุรกิจได้ (ฺBusiness Applicability)
องค์กรธุรกิจ มีการเชื่อมโยงเครือข่ายคอมพิวเตอร์ เพื่อประโยชน์ทางธุรกิจ เช่น เครือข่ายของธุรกิจธนาคาร ธุรกิจการบิน ธุรกิจประกันภัย ธุรกิจการท่องเที่ยว ธุรกิจหลักทรัพย์ สามารถดำเนินธุรกิจ ได้อย่างรวดเร็ว ตอบสนองความพึงพอใจ ให้แก่ลูกค้าในปัจจุบัน เริ่มมีการใช้ประโยชน์จากเครือข่าย Internet เพื่อทำธุรกิจกันแล้ว เช่นการสั่งซื้อสินค้า การจ่ายเงินผ่านระบบธนาคาร เป็นต้น  
ความประหยัด
นับเป็นการลงทุนที่คุ้มค่า อย่างเช่นในสำนักงานหนึ่งมีเครื่องอยู่ 30 เครื่อง หรือมากกว่านี้ ถ้าไม่มีการนำระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์มาใช้  จะเห็นว่าต้องใช้เครื่องพิมพ์อย่างน้อย 5 - 10 เครื่อง มาใช้งาน แต่ถ้ามีระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์มาใช้แล้วละก้อ ก็สามารถใช้อุปกรณ์ หรือเครื่องพิมพ์ประมาณ 2-3 เครื่องก็พอต่อการใช้งานแล้ว เพราะว่าทุกเครื่องสามารถเข้าใช้เครื่องพิมพ์เครื่องใดก็ได้ ผ่านเครื่องอื่น ๆ ที่ในระบบเครือข่ายเดียวกัน 
ความเชื่อถือได้ของระบบงาน
นับเป็นสิ่งที่สำคัญสำหรับการดำเนินธุรกิจ ถ้าทำงานได้เร็วแต่ขาดความน่าเชื่อถือก็ถือว่าใช้ไม่ได้ ไม่มีประสิทธิภาพ ดังนั้นเมื่อนำระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ มาใช้งาน ทำระบบงานมีประสิทธิภาพ มีความน่าเชื่อถือของข้อมูล เพราะจะมีการทำสำรองข้อมูลไว้ เมื่อเครื่องที่ใช้งานเกิดมีปัญหา ก็สามารถนำข้อมูลที่มีการสำรองมาใช้ได้ อย่างทันที
การนำระบบเครือข่ายมาใช้ในองค์กร สามารถแยกออกได้ ดังนี้
การตลาดและการขาย
ในธุรกิจประเภทขายสินค้าที่มีหลายสาขาระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ จะมีประโยชน์อย่างมาก ในการช่วยจัดวิเคราะห์การตลาดโดยนำข้อมูลที่เกิดจากการขายที่สาขาต่าง ๆ มาประมวลผล ที่สาขาใหญ่ได้อย่างสะดวกรวดเร็ว ทั้งยังเป็นการตรวจสอบข้อมูลของแต่ละสาขาด้วย นอกจากนี้สาขาต่าง ๆสามารถสั่งซื้อสินค้าได้ผ่านทางระบบเครือข่าย
งานการเงินและธนาคาร

ทุกวันนี้เราคงปฏิเสธไม่ได้ว่าระบบการเงินการธนาคารต้องอาศัยระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์อย่างแยกกันไม่ออก ไม่ว่าจะเป็นการบริการฝากถอนเงิน ผ่านตู้เอทีเอ็ม หรือการโอนเงินต่าง ๆ รวมทั้งบริการอื่น ๆด้วย
<!--[if !supportLineBreakNewLine]-->
<!--[endif]-->


จดหมายอิเล็กทรอนิกส์
นับตั้งแต่เครือข่ายอินเทอร์เน็ตได้เข้ามามีบทบาทในชีวิตประจำวันของมนุษย์การรับส่งจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ก็เป็นที่ได้รับความนิยมหรืออาจกล่าวได้ว่าเป็นบริการที่ได้รับความนิยมสูงสุดด้วย
งานบริการไดเร็กทอรี่ (directory service)

หมายถึงงานที่อนุญาตให้ผู้อื่นสามารถเข้าถึงแฟ้มข้อมูลต่าง ๆที่เก็บไว้ในเครื่องคอมพิวเตอร์เครื่องใด ๆเหมือนกับว่าเป็นแฟ้มข้อมูลในเครื่องของตนเอง โดยสามารถทำการคัดลอก ลบหรือถ่ายโอนมายังเครื่องคอมพิวเตอร์ของตนเอง (download) หรือนำแฟ้มข้อมูลจากเครื่องคอมพิวเตอร์ตนเองไปยังเครื่องคอมพิวเตอร์เครื่องอื่น (upload) เราอาจเรียกงานบริการนี้ว่า การถ่ายโอนข้อมูล (file transfer)
<!--[if !supportLineBreakNewLine]-->
<!--[endif]-->


งานบริการข้อมูลข่าวสาร

 คือ การนำเสนอข่าวสารต่าง ๆของหน่วยงาน องค์กร และบุคคลต่าง ๆ ที่ต้องการจะเผยแพร่ข่าวสารไปยังบุคคลอื่น ๆทั้งเพื่อหวังผลประโยชน์ทางธุรกิจ และไม่มีผลประโยชน์มาเกี่ยวข้อง บริการนี้ได้แก่เวิลด์ ไวด์ เว็บ (World Wide Web: WWW)

งานบริการแลกเปลี่ยนข้อมูลทางอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Data Interchange: EDI)

เป็นบริการผ่านระบบเครือข่ายของบริษัทที่ทำธุรกิจร่วมกันซึ่งสามารถส่งใบสั่งซื้อสินค้า ใบเสร็จรับเงิน และเอกสารอื่น ๆผ่านทางระบบเครือข่ายไปยังบริษัทคู่ค้าได้โดยไม่ต้องใช้กระดาษ

งานบริการแลกเปลี่ยนข้อมูลทางอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Data Interchange: EDI)

เป็นบริการผ่านระบบเครือข่ายของบริษัทที่ทำธุรกิจร่วมกันซึ่งสามารถส่งใบสั่งซื้อสินค้า ใบเสร็จรับเงิน และเอกสารอื่น ๆผ่านทางระบบเครือข่ายไปยังบริษัทคู่ค้าได้โดยไม่ต้องใช้กระดาษ

การประชุมทางไกล (teleconference)
หรือเรียกว่าการประชุมทางวีดิทัศน์เป็นการประชุมที่ผู้เข้าประชุมไม่จำเป็นต้องอยู่ในสถานที่เดียวกันแต่สามารถพิมพ์ข้อความส่งไปยังผู้เข้าร่วมประชุมคนอื่น ๆ ผ่านทางแป้นพิมพ์และยังสามารถสนทนากันและเห็นภาพผู้เข้าร่วมประชุมผ่านทางจอภาพได้


โทรศัพท์เคลื่อนที่แบบเซลลูลาร์ (Cellular telephone)

 เป็นระบบโทรศัพท์ที่ใช้เครือข่ายของชุมสายหรือสถานีโทรศัพท์เคลื่อนที่เป็นเครือข่ายทำงานร่วมกับโทรศัพท์เคลื่อนที่

ระบบเคเบิลทีวี
เป็นการแพร่สัญญาณผ่านสายเคเบิลหรือผ่านดาวเทียมในหมู่สมาชิกของเครือข่ายทีวี ที่ผู้ใช้สมัครเป็นสมาชิกการใช้งานเพียงผู้ใช้ติดตั้งเสาอากาศ หรือจานดาวเทียม หรืออุปกรณ์ต่อเชื่อมเข้ากับโทรทัศน์ เท่านั้น



3.หากนำระบบเครือข่ายมาใช้ในองค์กรนักศึกษาจะเลือกรูปแบบของระบบเครือข่าย(LAN Topology) แบบใดเพราะอะไร


แบบดาว (Star Network)   เป็นวิธีการที่นิยมใช้เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ขนาดเล็กเข้ากับคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ (Host Computer) ซึ่งจะใช้เป็นเครื่องศูนย์กลาง และต่อสายไปยังคอมพิวเตอร์หรือเทอร์มินัลตามจุดต่างๆ แต่ละจุดเปรียบได้กับแต่ละแฉกของดาวนั่นเอง
ในการต่อแบบนี้ คอมพิวเตอร์แต่ละตัวจะถูกต่อเข้ากับคอมพิวเตอร์ศูนย์กลางโดยตรง จึงไม่มีปัญหาการแย่ง การใช้สายสื่อสาร จึงทำให้มีการตอบสนองที่รวดเร็วการส่งข้อมูลแต่ละสถานี (เครื่องคอมพิวเตอร์ย่อยๆ) ก็จะส่งไปยังเครื่องคอมพิวเตอร์ศูนย์กลางก่อนแล้วตัวเครื่องคอมพิวเตอร์ศูนย์กลางนี้จะเป็นผู้ส่งไปยังสถานีอื่นๆ การควบคุมการรับส่งภายในระบบทั้งหมดจะขึ้นอยู่กับเครื่องคอมพิวเตอร์ศูนย์กลางดังนั้นถ้าเครื่องศูนย์กลางมีปัญหาขัดข้องก็จะทำให้
ระบบทั้งระบบต้องหยุดชะงักทันที
            แบบ Star จะเป็นลักษณะของการต่อเครือข่ายที่ Work station แต่ละตัวต่อรวมเข้าสู่ศูนย์กลางสวิตซ์ เพื่อสลับตำแหน่งของเส้นทางของข้อมูลใด ๆ ในระบบ ดังนั้นใน โทโปโลยี แบบดาว คอมพิวเตอร์จะติดต่อกันได้ใน 1 ครั้ง ต่อ 1 คู่สถานีเท่านั้น เมื่อสถานีใดต้องการส่งข้องมูลมันจะส่งข้อมูลไปยังศูนย์กลางสวิทซ์ก่อน เพื่อบอกให้ศูนย์กลาง สวิตซ์มันสลับตำแหน่งของคู่สถานีไปยังสถานีที่ต้องการติดต่อด้วย ดังนั้นข้อมูลจึงไม่เกิดการชนกันเอง ทำให้การสื่อสารได้รวดเร็วเมื่อสถานีใดสถานีหนึ่งเสีย ทั้งระบบจึงยังคงใช้งานได้ ในการค้นหาข้อบกพร่องจุดเสียต่างๆ จึงหาได้ง่ายตามไปด้วย แต่ก็มีข้อเสียที่ว่าต้องใช้งบประมาณสูงในการติดตั้งครั้งแรก



                                                     STAR NETWORK


            เพราะมีข้อดี คือ  ติดตั้งและดูแลง่าย แม้ว่าสายที่เชื่อมต่อไปยังบางโหลดจะขาด โหลดที่เหลืออยู่ก็ยังจะสามารถทำงานได้ ทำให้ระบบเน็ตเวิร์กยังคงสามารถทำงานได้เป็นปกติ การมี Central node อยู่ตรงกลางเป็นตัวเชื่อมระบบ ถ้าระบบเกิดทำงานบกพร่องเสียหาย ทำให้เรารู้ได้ทันทีว่าจะไปแก้ปัญหาที่ใด
ข้อดี


1. เป็นระบบที่ง่ายต่อการติดตั้ง
 2. เนื่องจากการรับ ส่งข้อมูลขึ้นอยู่กับเครื่องคอมพิวเตอร์ศูนย์กลางทั้งหมดจึงทำให้การรับ ส่งข้อมูลทำได้ง่าย
3. หากอุปกรณ์ชิ้นใดเสียหายก็จะไม่ส่งผลกระทบต่อระบบ เพราะมีการใช้อุปกรณ์ที่แยกออกจากกัน
4. การตอบสนองที่รวดเร็วเพราะไม่ต้องแย่งกันใช้สายสื่อสาร
5. หากสถานีใดเกิดความเสียหายก็สามารถที่จะตรวจสอบได้ง่าย
ข้อเสีย


1. เสียค่าใช้จ่ายในการติดตั้งและบำรุงรักษามาก
2. หากคอมพิวเตอร์ศูนย์กลางขัดข้อง ก็จะทำให้ระบบใช้งานไม่ได้ทันที
3. ขยายระบบได้ยากเพราะต้องทำจากศูนย์กลางออกมา
4. เครื่องคอมพิวเตอร์ศูนย์กลางมีราคาแพง





อินเทอร์เน็ตมีข้อดีต่อระบบการศึกษาไทยอย่างไร

<!--[if !supportLists]-->8 <!--[endif]-->สามารถใช้เป็นแหล่งค้นคว้าหาข้อมูล ไม่ว่าจะเป็นข้อมูลทางวิชาการ ข้อมูลด้านการบันเทิง ด้านการแพทย์ และอื่นๆ ที่น่าสนใจ
<!--[if !supportLists]-->8 <!--[endif]-->ระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต จะทำหน้าที่เสมือนเป็นห้องสมุดขนาดใหญ่
<!--[if !supportLists]-->8 <!--[endif]-->นักศึกษาในมหาวิทยาลัย สามารถใช้อินเทอร์เน็ต ติดต่อกับมหาวิทยาลัยอื่น ๆ เพื่อค้นหาข้อมูลที่กำลังศึกษาอยู่ได้ ทั้งที่ข้อมูลที่เป็น ข้อความ เสียง ภาพเคลื่อนไหวต่างๆ เป็นต้น
<!--[if !supportLists]-->8 <!--[endif]-->เปิดโอกาสให้ครูอาจารย์ นักเรียน และนักศึกษา สามารถเข้าถึงแหล่งความรู้ที่หลากหลายหรือเสมือนหนึ่งมี " ห้องสมุดโลก" (Library of the World)
<!--[if !supportLists]-->8 <!--[endif]-->พัฒนาการสื่อสารระหว่างครูกับนักเรียน ซึ่งมีผลสืบเนื่องมาจากการที่อินเทอร์เน็ต สามารถให้บริการไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ที่มีความสะดวก รวดเร็ว แม่นยำ และง่ายต่อการใช้ ทำให้เกิดการสื่อสารเพิ่มมากขึ้นในระบบการศึกษา ทั้งที่เป็นการสื่อสาร  ระหว่าง  ครูกับครู  ครูกับนักเรียน และระหว่างนักเรียนกับนักเรียนเอง
<!--[if !supportLists]-->8 <!--[endif]-->เปลี่ยนบทบาทของครูและนักเรียน การใช้อินเทอร์เน็ตเพื่อการเรียนการสอน จะทำให้บทบาทของครูปรับเปลี่ยนไปจากการเน้นความเป็น "ผู้สอน" มาเป็น "ผู้แนะนำ" มากขึ้น  ในขณะที่กระบวนการเรียนรู้ของนักเรียนจะเป็นการเรียนรู้ "เชิงรุก" มากขึ้นทั้งนี้  เนื่องจากฐานข้อมูลในอินเทอร์เน็ตเป็นปัจจัยบวก ที่สำคัญที่จะเอื้ออำนวยให้นักเรียนสามารถเรียนและค้นคว้าได้ด้วยตนเอง (Independent learning) ได้สะดวกรวดเร็ว และมากยิ่งขึ้น
        อีกกลุ่มเชื่อว่าการเปลี่ยนแปลงจะไม่ส่งผลกระทบในทางลบขนาดนั้น  แต่กลับมองว่าเป็นโอกาสอันดีที่ จะใช้ประโยชน์จากอินเตอร์เน็ตเพื่อขยายขอบเขตของมหาวิทยาลัยสู่กลุ่มคนที่ใหญ่ขึ้นได้ Van Vught (1997) เชื่อว่า Information technology จะเข้ามาช่วยให้การเรียนการสอนได้มีประสิทธิภาพมากขึ้น แต่จะไม่สามารถเข้ามาแทนที่การมีโรงเรียนและมหาวิทยาลัยได้โรงเรียนและมหาวิทยาลัยจะยังคงมีอยู่ในระบบการศึกษาแต่ก็ยอมรับกันว่าจะมีการเปลี่ยนแปลงอย่างมาก จากเดิมที่เป็นห้องเรียนมีผนังล้อมรอบก็จะเป็น School without wall และเปลี่ยนจากการเรียนการสอนแบบบรรยายในชั้นเรียนมาเป็นแนวการเรียนการสอนแบบกระตุ้นให้เรียน
และค้นคว้าเป็นทีม (Stimulate team-based learning)

            ประโยชน์ที่ชัดเจนที่สุดของอินเตอร์เน็ตต่อการศึกษา คือการเป็นเครื่องมือที่ช่วยให้การค้นหาข่าวสาร ข้อมูลต่างๆเป็นไปได้อย่างสะดวกและรวดเร็วมากยิ่งขึ้น  ปัจจุบัน มี Web site ต่างๆเกิดขึ้นมากมาย แต่ละ web site ก็ให้ข้อมูลข่าวสารในเรื่องต่างๆ รูปแบบระบบห้องสมุดก็มีแนวโน้มว่าจะเปลี่ยนเป็น digital library ที่มีหนังสือในเรื่องต่างๆเก็บไว้ในคอมพิวเตอร์ให้อ่านและค้นคว้าได้Online การใช้ email ช่วยให้การติดต่อข่าวสารระหว่างนักวิชาการเป็นไปได้อย่างรวดเร็ว ไม่ล่าช้าเหมือนแต่ก่อน ช่วยให้การแลกเปลี่ยนความคิดเห็นระหว่าง

นักวิชาการในสาขาเดียวกันทั่วโลกเป็นไปได้   การเรียนแบบ Online ยังช่วยให้นักเรียนสามารถเรียนได้ตามขีด ความสามารถของตนเอง ใครมีความสามารถมากก็เรียนได้เร็วกว่า นักเรียนที่ไม่กล้าแสดงความคิดเห็นในห้อง ก็สามารถแสดงความคิดเห็นได้มากขึ้นผ่านการใช้ Email หรือ discussion group

 ที่มา
http://www.garethjmsaunders.co.uk/pc/images/network/star-topology.gif

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น