บทที่ 5
เรื่อง "จริยธรรมสารสนเทศและสิทธิทางปัญญา"
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์คืออะไร จงอธิบายพร้อมยกตังอย่าง
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ (Computer Crime)
1. ประเด็นเกี่ยวกับการลักลอบนำเอาข้อมูลไปใช้โดยไม่ได้รับอนุญาตรวมถึงการสร้างความเสียหายต่อบุคคลและสังคมสารสนเทศ โดย“ผู้ไม่ประสงค์ดี”
2. เกิดขึ้นสืบเนื่องจากการขาด “จริยธรรมที่ดี” นั่นเอง
3. บางกรณีถือว่าเป็นการกระทำที่ผิดกฎหมายเช่นเดียวกัน ซึ่งมีบทลงโทษแตกต่างกันไป
ตัวอย่างเช่น
ไวรัสคอมพิวเตอร์ (Computer Virus)
1. เขียนโดยนักพัฒนาโปรแกรมที่มีความชำนาญเฉพาะด้าน
2. การทำงานจะอาศัยคำสั่งที่เขียนขึ้นภายในตัวโปรแกรมเพื่อกระจายไปยังเครื่องคอมพิวเตอร์เป้าหมาย
3. แพร่กระจายโดยอาศัยคนกระทำการอย่างใดอย่างหนึ่งกับพาหะที่โปรแกรมไวรัสนั้นแฝงตัวอยู่ เช่น รันโปรแกรม อ่านอีเมล์ เปิดดูเว็บเพจ หรือเปิดไฟล์ที่แนบมา
วิธีป้องกันที่ดีที่สุดคือ ควรติดตั้งโปรแกรมป้องกันไวรัสไว้ในเครื่องที่ใช้งานด้วยเพื่อคอยเฝ้าระวังไวรัสพวกนั้นเข้ามาทำร้ายเครื่องของเรา
อธิบายความหมายของคำต่อไปนี้
แฮคเกอร์(Hacker) นั้นมีความหมายอยู่ 2 แบบ โดยส่วนใหญ่เมื่อพูดถึงคำคำนี้จะเข้าใจว่า หมายถึง
<!--[if !supportLists]-->1. <!--[endif]-->บุคคลที่พยายามที่จะเจาะเข้าระบบโดยไม่ได้รับอนุญาติ
<!--[if !supportLists]-->2. <!--[endif]-->อีกความหมายหนึ่งซึ่งเป็นความหมายดั้งเดิม จะหมายถึง ผู้ใช้ความรู้ความชำนาญเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์แต่ไม่ได้มีจุดมุ่งหมายเพื่อทำลายหรือในด้านลบ เช่น สำรวจเครือข่ายเพื่อตรวจหาเครื่องแปลกปลอม เป็นต้น แต่อย่างไรก็ตามการที่เจาะเข้าระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่นนั้นเป็นสิ่งผิดกฎหมาย
<!--[if !supportLists]-->8 <!--[endif]-->ระดับความชำนาญ => แฮคเกอร์ (Hacker) มีความรู้ความชำนาญสูงทั้งในการใช้คอมพิวเตอร์ และการเจาะระบบคอมพิวเตอร์
<!--[if !supportLists]-->8 <!--[endif]-->แรงจูงใจ => เพื่อพัฒนาหรือปรับปรุงระบบให้มีความปลอดภัยมากยิ่งขึ้น
<!--[if !supportLists]-->8 <!--[endif]-->เป้าหมายของการโจมตี => แล้วแต่ที่แฮคเกอร์ (Hacker) ติดตามหรือสนใจ
:Cracker
แคร็คเกอร์ (Cracker) คือบุคคลที่มีความรู้ความชำนาญด้านคอมพิวเตอร์พยายามที่จะเจาะเข้าระบบโดยไม่ได้รับอนุญาต และอาศัยช่องโหว่หรือจุดอ่อนเพื่อทำลายระบบ
<!--[if !supportLists]-->8 <!--[endif]-->ระดับความชำนาญ => แครร็คเกอร์ (Cracker) มีความรู้ความชำนาญสูงทั้งในการใช้คอมพิวเตอร์ และการเจาะระบบคอมพิวเตอร์
<!--[if !supportLists]-->8 <!--[endif]-->แรงจูงใจ => แข่งขันกับผู้อื่นเพื่อแสดงความสามารถในการทำลายระบบ แคร็คเกอร์ (Cracker) จะภูมิใจถ้าเขาสามารถเจาะเข้าระบบได้มากกว่าผู้อื่น
<!--[if !supportLists]-->8 <!--[endif]-->เป้าหมายของการโจมตี => แล้วแต่ที่แคร็คเกอร์ (Cracker) ติดตามหรือสนใจ
: สแปม (Spam)
สแปม (Spam)
คือบุคคลที่มีความรู้ความชำนาญด้านคอมพิวเตอร์พยายามที่จะเจาะเข้าระบบโดยไม่ได้รับอนุญาต และอาศัยช่องโหว่หรือจุดอ่อนเพื่อทำลายระบบ
<!--[if !supportLists]-->8 <!--[endif]-->ระดับความชำนาญ => แครร็คเกอร์ (Cracker) มีความรู้ความชำนาญสูงทั้งในการใช้คอมพิวเตอร์ และการเจาะระบบคอมพิวเตอร์
<!--[if !supportLists]-->8 <!--[endif]-->แรงจูงใจ => แข่งขันกับผู้อื่นเพื่อแสดงความสามารถในการทำลายระบบ แคร็คเกอร์ (Cracker) จะภูมิใจถ้าเขาสามารถเจาะเข้าระบบได้มากกว่าผู้อื่น
<!--[if !supportLists]-->8 <!--[endif]-->เป้าหมายของการโจมตี => แล้วแต่ที่แคร็คเกอร์ (Cracker) ติดตามหรือสนใจ
สแปม (อังกฤษ: spam) คือชื่อเรียกของการส่งข้อความที่ผู้รับไม่ได้ร้องขอ ผ่านทางระบบอิเล็กทรอนิกส์ โดยส่วนมากจะทำให้เกิดความไม่พอใจต่อผู้รับข้อความ สแปมที่พบเห็นได้บ่อยได้แก่ การส่งสแปมผ่านทางอีเมล ในการโฆษณาชวนเชื่อ หรือโฆษณาขายของ โดยการส่ง อีเมลประเภทหนึ่งที่เราไม่ต้องการ ซึ่งจะมาจากทั่วโลก โดยที่เราไม่รู้เลยว่า ผู้ที่ส่งมาให้นั้นเป็นใคร จุดประสงค์คือ ผู้ส่งส่วนใหญ่ต้องการที่จะโฆษณา สินค้าหรือบริการต่าง ๆ ของบริษัทของตนเอง ซึ่งเป็นประเภทหนึ่งของเมลขยะซึ่งนอกจากจะทำให้ผู้รับรำคาญใจและเสียเวลาในการกำจัดข้อความเหล่านี้แล้ว สแปมยังทำให้ประสิทธิภาพการขนส่งข้อมูลบนอินเทอร์เน็ตลดลงด้วย สแปมในรูปแบบอื่นนอกจาก อีเมลสแปม ได้แก่ เมสเซนเจอร์สแปม นิวส์กรุ๊ปสแปม บล็อกสแปมและเอสเอ็มเอสสแปม
: ม้าโทรจัร (Trojan horse)
ม้าโทรจัน (อังกฤษ: Trojan horse) หมายถึง โปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่ถูกบรรจุเข้าไปในคอมพิวเตอร์ เพื่อลอบเก็บข้อมูลของคอมพิวเตอร์เครื่องนั้น เช่น ข้อมูลชื่อผู้ใช้ รหัสผ่าน เลขที่บัญชีธนาคาร หมายเลขบัตรเครดิต และข้อมูลส่วนบุคคลอื่น ๆ โดยส่วนใหญ่แฮกเกอร์จะส่งโปรแกรมเข้าไปในคอมพิวเตอร์เพื่อดักจับข้อมูลดังกล่าว แล้วนำไปใช้ในการเจาะระบบ และเพื่อโจมตีคอมพิวเตอร์, เซิร์ฟเวอร์, หรือระบบเครือข่ายอีกที ซึ่งเป็นที่รู้จักกันในชื่อการโจมตีเพื่อ "ปฏิเสธการให้บริการ" (Denial of Services)
: สปายแวร์ (Spyware)
สปายแวร์ (spyware) หมายถึง ประเภทซอฟต์แวร์ที่ออกแบบเพื่อสังเกตการณ์หรือดักจับข้อมูล หรือควบคุมเครื่องคอมพิวเตอร์ โดยที่ผู้ใช้ไม่รับทราบว่าได้ติดตั้งเอาไว้ หรือผู้ใช้ไม่ยอมรับ ซึ่งส่วนใหญ่แล้วเพื่อสร้างผลประโยชน์แก่ผู้อื่น
จงยกตัวอย่างกฎหมาย ICT หรือ พ.ร.บ. คอมพิวเตอร์ มีอะไรบ้าง จงอธิบายถึงการกระทำผิดและลงโทษ มา 5 ตัวอย่าง
พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. ๒๕๕๐ ประกาศใช้ในวันที่ 19 กรกฎาคม 2550
8ร่างพระราชบัญญัติดังกล่าวได้ผ่านความเห็นชอบของสภานิติบัญญัติแห่งชาติเมื่อวันที่ 9 พฤษภาคม พ.ศ. 2550
<!--[if !supportLists]-->8 <!--[endif]-->มีการเสนอร่างพระราชบัญญัติเพื่อลงพระปรมาภิไธย และได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเมื่อวันที่ 18 กรกฎาคม พ.ศ. 2550
พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550 ประกอบด้วยมาตราทั้งสิ้น 30 มาตรา โดยแบ่งเป็น 2 หมวด
หมวด 1 ความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ เป็นการกระทำความผิดมาตรา 5 ถึงมาตรา 13
เป็นการกระทำที่กระทบต่อความมั่นคงปลอดภัยของระบบสารสนเทศ หมายถึง การกระทำความผิดที่กระทบต่อการรักษาความลับ ความครบถ้วนและถูกต้อง และความพร้อมใช้งานของระบบคอมพิวเตอร์ และได้มีการกำหนดให้ความฟิดในหมวดที่ 1 เป็นความผิดที่ไม่สามารถยอมความได้ เนื่องจากมีผลกระทบต่อบุคคลจำนวนมาก สังคม หรือก่อให้เกิดความเสียหายของเศรษฐกิจในวงกว้าง
หมวด 2 พนักงานเจ้าหน้าที่
เป็นการกำหนดเกี่ยวกับอำนาจพนักงานเจ้าหน้าที่ และการกำหนดเกี่ยวกับการตรวจสอบการใช้อำนาจของพนักงานเจ้าหน้าที่ รวมทั้งมีการกำหนดหน้าที่ของผู้ให้บริการที่ต้องรักษาข้อมูลคอมพิวเตอร์และต้องให้ความร่วมมือกับพนักงานเจ้าหน้าที่ในการส่งมอบข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์แก่พนักงานเจ้าหน้าที่ ซึ่งบทบัญญัติในหมวดนี้มี 16 มาตรา
ที่มา :
http://www.thaiall.com/article/law.htm
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น